หน่วยงานวิจัย

ศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านไบโอเซนเซอร์และวิศวกรรมชีวภาพ

Center of Excellent for Biosensors and Bioengineering (CEBB)

หน่วยปฏิบัติการวิจัยไบโอเซนเซอร์และวิศวกรรมชีวภาพมุ่งผลิตงานวิจัยคุณภาพสูงและพัฒนานวัตกรรมที่ประโยชน์ต่อการศึกษาเซลล์และการตรวจวิเคราะห์สารบ่งชี้ทางชีวภาพ อาหาร และสิ่งแวดล้อม เป้าหมายเพื่อพัฒนาวิธีที่มีต้นทุนต่ำ ใช้งานง่ายในระดับภาคสนาม หรือ ณ จุดดูแลผู้ป่วย ในรูปแบบที่หลากหลาย เช่น อุปกรณ์ตรวจวิเคราะห์ฐานกระดาษ ของไหลจุลภาค ไบโอเซนเซอร์ และอาร์เอฟไอดีเซนเซอร์ไร้สาย เป็นต้น รวมทั้งการออกแบบแพลตฟอร์มในการเพาะเลี้ยงเซลล์แบบสามมิติ วิศวกรรมเนื้อเยื่อสำหรับใช้เป็นโมเดลในการศึกษาวิจัยทางด้านชีววิทยา (Biological Research) และเวชศาสตร์ฟื้นฟูสภาวะเสื่อม (Regenerative Medicine)

ขอบเขตการวิจัย

  • อุปกรณ์ตรวจวิเคราะห์ฐานกระดาษ สำหรับเพาะเลี้ยงเซลล์ในรูปแบบ 3 มิติ สำหรับใช้ทดสอบการบุกรุกของเซลล์
  • อุปกรณ์ตรวจวิเคราะห์แบบง่ายและต้นทุนต่ำสำหรับการเพาะเลี้ยง และการศึกษาพฤติกรรมของ C. elegans
  • อาร์เอฟไอดีไบโอเซนเซอร์ไร้สาย สำหรับตรวจวัดแบคทีเรีย และสารบ่งชี้ทางชีวภาพ
  • การพัฒนาวิธีการตรวจแบบง่ายและรวดเร็วเพื่อการตรวจอาหารที่ปลอดภัยในระดับภาคสนาม
  • การพัฒนาอุปกรณ์แบบง่ายและต้นทุนต่ำสำหรับตรวจหาหมู่เลือด และแอนติเจนบนผิวเม็ดเลือดแดงหลายชนิดพร้อมกันบนกระดาษ
  • การสร้างวิศวกรรมเนื้อเยื่อรูปแบบต่าง ๆ สำหรับใช้ในการศึกษาวิจัยและเวชศาสตร์ฟื้นฟูสภาวะเสื่อม

ความร่วมมือ

ภาพผลงานของศูนย์ฯ

ผลงานตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับชาติและนานาชาติ

  • Label-free detection of C-reactive protein using an electrochemical DNA immunoassay, Sensing and Bio-Sensing Research. 2016
  • Simultaneous forward and reverse ABO blood group typing using a paper-based device and barcode-like interpretation, Analytica Chimica Acta. 2016
  • A multiplexed three-dimensional paper-based electrochemical impedance device for simultaneous label-free affinity sensing of total and glycated hemoglobin: The potential of using a specific single-frequency value for analysis, Analytica Chimica Acta. 2016
  • Boronate-Modified Interdigitated Electrode Array for Selective Impedance-Based Sensing of Glycated Hemoglobin, Analytical Chemistry 2016
  • Development of Red Blood Cell Antigen Phenotyping Profile Test by Paper-based Analytical Devices, J Med Tech Assoc Thailand. 2016
  • Semi-quantitative visual detection of loop mediated isothermal amplification (LAMP)-generated DNA by distance-based measurement on a paper device, Talanta. 2017
  • A simple and low-cost portable paper-based ABO blood typing device for point-of-care testing, Journal of Immunoassay and Immunochemistry. 2018
  • Development of Paper-Based Analytical Devices for Minimizing the Viscosity Effect in Human Saliva, Theranostics. 2018.
  • In situ paper-based 3D cell culture for rapid screening the anti-melanogenic activity, Analyst. 2018
  • A folding affinity paper-based electrochemical impedance device for cardiovascular risk assessment. Biosensors & Bioelectronics. 2019
  • Multifunctional Paper-Based Analytical Device for In Situ Cultivation and Screening of Escherichia coli Infections, Scientific Reports. 2019
  • Exploring Matrix Effects on Binding Properties and Characterization of Cotinine Molecularly Imprinted Polymer on Paper-Based Scaffold, Polymers. 2019
  • A paper-based analytical device coupled with electrochemical detection for the determination of dexamethasone and prednisolone in adulterated traditional medicines, Analytica Chimica Acta. 2019
  • Sensing by wireless reading Ag/AgCl redox conversion on RFID tag: universal, battery-less biosensor design, Scientific Reports.2019
  • Impedimetric melanoma invasion assay device using a simple paper membrane and stencil-printed electrode on PMMA substrate, Sensing and Bio-Sensing Research. 2020
  • Paper-Based Analytical Device for Real-Time Monitoring of Egg Hatching in the Model Nematode Caenorhabditis elegans, ACS sensors. 2020

หัวหน้าและผู้ร่วมวิจัย

รศ.ดร.วนิดา หลายวัฒนไพศาล
(หัวหน้าศูนย์)
ผศ.ดร.อัญชลี เฉียบฉลาด
อ.ดร.ปาริฉัตร ธัมมรติ

ติดต่อศูนย์ฯ

รศ.ดร.วนิดา หลายวัฒนไพศาล (หัวหน้าศูนย์)

ภาควิชาเคมีคลินิก คณะสหเวชศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
154 อาคารจุฬาพัฒน์ 1 ถนนพระราม 1 ซอยจุฬา 12 แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กทม. 10330

  • โทร: (+66) 0 2218 1068
  • E-mail: wanida.L@chula.ac.th